ศึกษาสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์และดูงานพื้นที่ภาคใต้ ณ จว.สงขลา
วันที่ 24 มิ.ย.68
เวลา 0830-1300
พล.ต.เกียรติชัย โอภาโส ผบ.วทบ.นำผู้บังคับบัญชา คณาจารย์ และ นศ.หลักสูตรหลักประจำ วทบ.ชุดที่ 70 ศึกษาสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์และดูงานพื้นที่ภาคใต้ ณ จว.สงขลา โดยรับฟังการบรรยายสรุปจากหน่วยงานในพื้นที่ ดังนี้
**กอ.รมน.ภาค 4 สน. โดย พล.ต.วรเดช เดชรักษา รอง ผอ.รมน.ภาค 4 สน. (วทบ. 60) ในประเด็นสำคัญ ดังนี้
-การแก้ปัญหาในเชิงนโยบาย
-การจัดการกับภัยที่เกิดจากผู้ก่อความไม่สงบในมิติต่างๆ
-กลไกการเอาชนะภัยคุกคามในพื้นที่ จชต.
-ปัญหา ข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะที่สำคัญ
**ศปก.ตร.สน. โดย พล.ต.ต.วรา เวชชาภินันท์ รอง ผบช.ภาค 9 ในประเด็นสำคัญ ดังนี้
-ประวัติการจัดตั้ง ศปก.ตร.สน.
-การแก้ปัญหาเชิงนโยบายและการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่ จชต.
-งานด้านนิติวิทยาศาสตร์ในพื้นที่ จชต.
**ศอ.บต. โดย นายนันทพงศ์ สุวรรณรัตน์ เลขาธิการ ศอ.บต. (วทบ.58)ในประเด็นสำคัญ ดังนี้
-วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ ของ ศอ.บต.
-กลไกการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
-การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
**ทรภ.2 โดย พล.ร.ต. ชยากร พันธ์หล้า เสธ.ทรภ.2 ในประเด็นสำคัญ ดังนี้
-ภารกิจ การจัด ขีดความสามารถของหน่วย
-วิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่รับผิดชอบ
-ขีดความสามารถในการปฏิบัติการทางเรือของ ทรภ.2
**เวลา 1200-1300 เยี่ยมชม ร.ล.ปัตตานี ซึ่งเป็นหนึ่งในเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ซึ่งกองทัพเรือไทยได้รับมอบจากบริษัทต่อเรือของจีน เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2548 ซึ่งเป็นเขี้ยวเล็บของกองทัพเรือที่สำคัญในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลฝั่งอ่าวไทย
25 มิถุนายน 2568
การยกพลขึ้นบกและการศึกษาประกอบภูมิประเทศจริง
วันที่ 20 มิ.ย.68
วทบ.จัดการฝึกอบรม นศ.หลักสูตรหลักประจำ วทบ.ชุดที่ 70 ดังนี้
**เวลา 0800-0900 ฟังวันที่ 20 มิ.ย.68
วทบ.จัดการฝึกอบรม นศ.หลักสูตรหลักประจำ วทบ.ชุดที่ 70 ดังนี้
**เวลา 0800-0900 ฟังบรรยายเกี่ยวกับการยกพลขึ้นบก โดย
- น.อ.ลำพอง ทองสงค์ ร.น. นศ.วทบ.70 ในประเด็นเรื่อง การจัดกำลัง/การวางแผน และแนวทางการเตรียมกำลัง การยุทธสะเทินน้ำสะเทินบกของนาวิกโยธิน
- พ.อ.ชาติวัฒน์ สิริพราหมณกุล นศ.วทบ.70 บรรยายการกรณีการยกพลขึ้นบกสู่ประเทศไทยของทหารญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะในพื้นที่ บน.5 อ่าวมะนาว จว.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็นการศึกษาการ ปบ.การย่อยในการวางแผนการทัพขนาดใหญ่
-พล.ต.เกียรติชัย โอภาโส ผบ.วทบ.ได้สรุปเพิ่มเติมเกี่ยวกับบ่งการ การยกพลขึ้นบกและการศึกษาประกอบภูมิประเทศจริงของ นศ.วทบ.ในห้วงการเดินทางไปศึกษาสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์และดูงานในพื้นที่ภาคใต้ในห้วง 22-28 มิ.ย.68
**0900-1200 นศ.นำเสนอการฝึกวางแผนป้องกันประเทศ ตามขั้นตอน JOPP ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ภารกิจ (Mission Analysis) มีผลผลิตที่ต้องการ ดังนี้
-ประมาณการของฝ่ายอำนวยการ
-คำแถลงภารกิจ
-แนวทางการแก้ปัญหาทางยุทธการที่ได้ปรับแต่งแล้ว (Refined Operational Approach)
-เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
-แนวทางการวางแผนของผู้บังคับบัญชา
-ความต้องการข่าวสารสำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา (CCIR)โดย
- น.อ.ลำพอง ทองสงค์ ร.น. นศ.วทบ.70 ในประเด็นเรื่อง การจัดกำลัง/การวางแผน และแนวทางการเตรียมกำลัง การยุทธสะเทินน้ำสะเทินบกของนาวิกโยธิน
- พ.อ.ชาติวัฒน์ สิริพราหมณกุล นศ.วทบ.70 บรรยายการกรณีการยกพลขึ้นบกสู่ประเทศไทยของทหารญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะในพื้นที่ บน.5 อ่าวมะนาว จว.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็นการศึกษาการ ปบ.การย่อยในการวางแผนการทัพขนาดใหญ่
-พล.ต.เกียรติชัย โอภาโส ผบ.วทบ.ได้สรุปเพิ่มเติมเกี่ยวกับบ่งการ การยกพลขึ้นบกและการศึกษาประกอบภูมิประเทศจริงของ นศ.วทบ.ในห้วงการเดินทางไปศึกษาสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์และดูงานในพื้นที่ภาคใต้ในห้วง 22-28 มิ.ย.68
**0900-1200 นศ.นำเสนอการฝึกวางแผนป้องกันประเทศ ตามขั้นตอน JOPP ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ภารกิจ (Mission Analysis) มีผลผลิตที่ต้องการ ดังนี้
-ประมาณการของฝ่ายอำนวยการ
-คำแถลงภารกิจ
-แนวทางการแก้ปัญหาทางยุทธการที่ได้ปรับแต่งแล้ว (Refined Operational Approach)
-เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
-แนวทางการวางแผนของผู้บังคับบัญชา
-ความต้องการข่าวสารสำคัญยิ่งของผู้บังคับบัญชา (CCIR)
23 มิถุนายน 2568
แผนป้องกันประเทศ ทภ.2 จากสถานการณ์ความขัดแย้งในปัจจุบัน
วันที่ 4 มิ.ย.68
นศ.หลักสูตรหลักประจำ วทบ. ชุดที่ 70 ศึกษาเป็นคณะ แผนป้องกันประเทศ ทภ.2 จากสถานการณ์ความขัดแย้งในปัจจุบัน มีการปฏิบัติ ดังนี้
**เวลา 1000-1100 ฟังบรรยายจากตัวแทน นศ.ทภ.2 สถานการณ์แนวชายแดน ไทย-กัมพูชา พื้นที่ช่องบก ในหัวข้อ
- สภาพปัญหา
- สถานการณ์ในปัจจุบัน
- สภาพภูมิประเทศ
- ที่ตั้งสำคััญ
- ข่าวสารล่าสุด
**เวลา 1100-1500 ศึกษาเป็นคณะ ในบทบาท ฝสธ.ของ ทบ.ในหัวข้อ
1. การประเมินสภาวะแวดล้อมด้านยุทธการ
- ปัจจัยภายใน/ปัจจัยภายนอก
- ประเมินความได้เปรียบ/เสียเปรียบด้วยปัจจัย PMESII PT
- ข้อพิจารณา Critical Strength, Critical Weakness
- ข้อเสนอ สิ่งที่ควรขยายผล/สิ่งที่ควรป้องกัน
2. การออกแบบการปฏิบัติการ
- เป้าหมาย/วัตถุประสงค์/การดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของทั้ง 2 ฝ่าย
- ปัจจัยสำคัญต่อการบรรลุเป้าหมาย/เกณฑ์เสี่ยง/สิ่งบอกเหตุ
- จุดตกลงใจในการดำเนินการแต่ละ Option
- แผนการทัพในมิติ DIME ของทั้ง 2 ฝ่าย
5 มิถุนายน 2568
วิชา ยุทธศิลป์ (Operational Art) โดย พล.ต.เกียรติชัย โอภาโส ผบ.วทบ.
วันที่ 4 มิ.ย.68
วทบ. จัดการฝึกอบรม นศ.หลักสูตรหลักประจำ วทบ. ชุดที่ 70 หมวดวิชาที่ 5 ดังนี้
**เวลา 0800-1000 วิชา ยุทธศิลป์ (Operational Art) โดย พล.ต.เกียรติชัย โอภาโส ผบ.วทบ. มีขอบเขต ดังนี้
1. ระดับของสงคราม ขอบเขตการปฏิบัติการทางทหาร
2. ยุทธศิลป์และลักษณะของยุทธศิลป์
3. Relationship between Strategy,Operational Art และ Operation Design
4. New Battlefield Operational Environment (D I M E, PMESII-PT)
5. กลไกในการสร้างกรอบแนวคิดโดยใช้ปัจจัย ยุทธศิลป์ และกระบวนการ การออกแบบแผนการทัพ
6. ตัวอย่างการใช้ยุทธศิลป์ในการสงครามในอดีต
5 มิถุนายน 2568
การประเมินผล แผนป้องกันประเทศกองทัพภาค พ.อ. นพรัตน์ แสงหนุ่ม รอง ผอ.ศพย.ยศ.ทบ.
วันที่ 27 พ.ค. 68 เวลา 1300 - 1500 วทบ. จัดการฝึกอบรม นศ.หลักสูตรหลักประจำ วทบ. ชุดที่ 70 หมวดวิชาที่ 5 วิชา ท.5309 การประเมินผล แผนป้องกันประเทศกองทัพภาค
- โดย พ.อ. นพรัตน์ แสงหนุ่ม รอง ผอ.ศพย.ยศ.ทบ. เพื่อสร้างความเข้าใจในการประเมินผลแผนป้องกันประเทศ เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมก่อนการฝึกร่วมฯ โดยมีรายละเอียดการสอน ดังนี้
1. แนวคิดและวิธีในการพิจารณาการทดสอบแผนฯ ต่อภัยคุกคาม
2. แนวทางในการตรวจสอบและซักถามความเข้าใจของหน่วยตามแผนป้องกันประเทศ
3. การแลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่างหน่วยตรวจสอบและปฏิบัติฯ
- การบรรยายช่วยให้นักศึกษา ได้เข้าใจถึงศักยภาพที่แท้จริงของหน่วยต่างๆ ขั้นตอนกลไก หลักนิยมในการปฏิบัติการ และเห็นว่า ทฤษฎี หลักการกับโลกในความเป็นจริงนั้นมีปัจจัยสำคัญยิ่งหลายประการที่พึงระลึก ทั้งในฐานะผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติ
28 พฤษภาคม 2568